ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

รู้จัก Stepping Motor

What is stepping motor ?

        Stepping motorถือว่าเป็นอุปกรณืที่สำคัญชิ้นหนึ่งใน mini cnc เลยก็ว่าได้ซึ้งหน้าที่ของมันก็คือ เป็นตัวต้นกำลังในการเคลื่อนที่ของแต่ละแกน ในการทำงานของสเต็ปมอร์เตอร์นั้นก็ต้องมีองค์ประกอบหลายส่วนเข้าด้วยกัน เราไปดูภาพรวมของเจ้าตัวสเต็ปมอเตอร์กันก่อนดีกว่า ว่าในการทำงานของมันนั้นหลักๆประกอบด้วยอะไรบ้าง


ในการที่จะให้สเต็ปมอร์เตอร์นั้นทำงานก็จะมี 3 องค์ประกอบหลักๆด้วยกันก็คือ
    1. ชุดคอนโทรล เช่น areduino ที่ใช้ Grbl หรือจะเป็นพวก Pc base เช่น Mach3 Linux 
    2. ชุดขับ หรือที่เรียกกันติดปากว่า Drive หรือ Motor driver นั่นเอง
    3. เราจะมาเจาะลึกกันในบทความนี้ก็คือ Stepping motor 

!!! เคยส่งสัยกันไหมว่าเจ้าตัวสเต็ปมอเตอร์เนี่ย ข้างในมันจะเป็นอย่างไร !!!

ถ้าอย่างนั้นสิ่งแรกที่จะพาไปดูก็คือโครงสร้างของมันก่อนเลยยยยยยยยย......

โครงสร้างของสเต็ปมอร์เตอร์


  

ในภาพนี้จะเป็นโครงสร้างของขดรวดมอเตอร์ 5 เฟส

   การทำงานเบื้องต้นของ stepping motor

    ส่วนที่น่าสนใจและจะทำให้เราเข้าใจการทำงานของ Sepping motor ก็คือ Rotor winding และ stator

Rotor       : Rotor ของสเต็ปมอเตอร์จะเป็นแม่เหล็กถาวร โดยที่ Rotor 1 เป็นขั่ว N และ Rotor 2 คือ S

Winding   : หรือที่เรียกว่าขดลวด
Stator     : คือโลหะหรือวัสดุจำเพาะของผู้ผลิตแต่ละราย

   หลักการทำงานของ Stator และ Winding 


   ถ้าลองย้อนกลับไปในสมัยมัธยมหลายคนอาจได่ทดลองหรือเรียนทางด้านวิทยาศาสตร์ หรื อฟิสิคส์
ที่เราเอาตะปูพันด้วยลวดทองแดงและจะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ทางปลายด้านหนึ่งจะเป็นขั้ว N และอีกด้านหนึ่งจะเป็นขั้วตรงข้าม
thank you from 

นั่นก็คือหลักการทำงานของ Winding and Stator เช่นเดียวกัน


Thank you from clilk
     จากที่กล่าวมาข้างต้นคาดว่าผู้อ่านคงสงสัยกันแล้วว่าแล้วมันจะหมุนอย่างไรใช่ไหมครับ !!!!!
การที่เราจะให้สเต็ปมอเตอร์หมุนนั้นเราต้องจ่ายไฟให้กับขดลวด เอง ซึ่งนั้นก็หมายพื่อที่ใช้ทำให้ stator เกิดสนามแม่เหล็กเพื่อดูด Rotor ให้เข้าหาขั้วอย่างถูกต้ความว่าการจ่ายไฟให้ขดลวดแต่ละขดต้องมีลำดับการจ่ายซึ่งเราเรียก  commutation stepper motor


  Commutation stepper motor

   ในการขับ Stepping motor นั้นเราจะมีการขับอยู่สองแบบคือ unipolar และ bipolar 

การขับ Stepping motor unipolar 

   ในตัวอย่างภาพด้านบน คือการขับมอเตอร์แบบ unipolar  หลักการทำงานพูดง่ายๆก็คือ ต่อ common เข้ากับไฟบวก และ เปิดสวิตซ์เพื่อดึงลงกราด์วดามลำดับ

  ในการขับสเต็ปมอเตอร์เราจะแบ่งเป็นแบบหลัก คือ

- Full step
- Half step
-micro step


- Full step

อันดับแรกให้เราดูที่ Full step mode  ใน mode นี้จะถูกแบบย่อยเป้นอีกสองแบบ คือ
 1. one phase on



 2. Two phase on



- Half step



- micro step

  ในปัจจุบันมีการพัฒนา drive ก้าวหน้าไปมากความละเอียดของ drive ก็ทำได้ถึง 8 16 และ 32 เลยที่เดียว


การขับ Stepping motor bipolar

  ก่อนอื่นที่เราจะเริ่มต้นศึกษาการทำงานของการขับมอเตอร์แบบ bipolar นั้นเราต้องทำความเข้าใจวงจร H-bridge ก่อน
  



เพราะว่า การขับสเต็ปมอเตอร์แบบ bipolar นั้นจะประกอนด้วยวงจร H-bridge จำนวน 2 ชุด 







ลำดับการจ่ายก็จะเป็นเช่นนี้ ในภาพจะเป็นการอธิบายการกระตุ้นเฟส หรือ ขดลวดโดยตรง ไม่ได้ผ่าน Drive








- ข้อดี-ข้อเสีย การขับมอเตอร์แต่ละแบบ

 - unipolar

ข้อดี
 - ในการขับแบบ unipolar ใช้อุปกรณ์น้อยกว่า bipolar
ข้อเสีย
 - แรงบิดที่ได้จะน้อยกว่า bipolar (ที่แรงดัน และ กระแสเท่ากัน)  เนื่องสังเกตุที่การอธิบายด้านบน การขับแบบ unipolar นั้นจะต่อ common เข้าที่กลางขด และ เปิดสวิตซ์ลงกราวด์ ดั้นนั้นขดลวดจะถูกจ่ายไปแค่ครึ่งขด ทำให้ได้แรงบิดน้อยกว่า bipolar ที่จ่ายเต็มขด

- Bipolar

ข้อดี
- แรงบิดที่ได้มากกว่า unipolar 
- สายมอร์เตอร์ที่ใช่จำนวนน้อยกว่า unipolar
ข้อเสีย
- วงจรและอุปกรณ์ประกอบค่อนข้างเยอะ 


หลายคนอาจสงสัยทำไมเวลาดูวงจรสเต็ปมอเตอร์ในสื่อต่างๆกับในตัวสเต็ปจริงๆมันไม่เหมือนกันเลยทิ้งท้ายการจัดวางขดลวดภายในสเต็ปมอเตอร์ไว้ที่ภาพนี้เลยครับ




หาประสพการณ์เพิ่มเติม http://panmaneecnc.blogspot.com/2015/12/stepping-motor.html



ความคิดเห็น

  1. We have over 600+ stepper motors, stepper motor drivers and accessory products in stock for you to choose from. Furthermore, more than 10+ new models will be added each month. Featured products like nema 14 stepper motor and nema 17 stepper motor
    have received high praise and had a good performance on market.

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เครื่องกัดแม่พิมพ์เหล็กขนาดเล็กสำหรับงานกัดแม่พิมพ์พระ

สำหรับงานกัดแม่พิมพ์พระ ราคา 180,000.00 บาท พร้อม อบรม ดูแล 1 ปี

คีย์ลัดที่ใช้ในโปรแกรมเขียนแบบ Autocad

การใช้คีย์ลัด จะช่วยให้การเขียนแบบ มีความรวดเร็วขึ้น AR = ARRAY ในแบบกำหนดจำนวนและระยะห่าจากจุดอ้างอิง A = ARC เขียนเส้นโค้ง BR = BREAK ตัดเส้นที่ต่อเนื่องกัน ณ จุดที่เราทำการ break B = BLOCK ทำ block ใหม่ให้กับชิ้นงานที่เขียนขึ้นแล้ว CO,CP = COPY ทำชิ้นส่วนภาพที่เราเลือกไว้ให้สร้างขึ้นมาใหม่ ในลักษณะ เหมือนเดิมทุกประการ C = CIRCLE เขียนวงกลม CH = CHCOLOR เปลี่ยนสี CHA = CHAMFER ตัดมุมของรูปเหลี่ยมต่าง ๆ DT = DTEXT เขียนตัวหนังสือ DB = DIM VASELINE ให้ dimension แบบต่อเนื่องในแนวเส้นแรก DC = DIM CONTINUE ให้ dimension แบบต่อเนื่องในแนวและระดับเดียวกันหมด DV = DIM HORIZONTAL ให้ dimension แบบอยู่ในแนวเส้นราบ DD = DIM DIAMETER ให้ dimension แบบเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม DS = DIM SCALE ตัวคูณ factor ของขนาดสเกลของ dimension DN = DIM NEWTEXT เปลี่ยน text DM = DIM MOVE การขยับ text ไปมา DAN = DIM ANGULAR วิธีการให้ dimension แบบเส้นโค้งเพื่อแสดงขนาดของมุม DL = DIM LEADER วิธีการให้dimension แบบชี่จุดตำแห่งที่เราต้องการ...

ความรู้เบื้องต้นสำหรับการสร้างงาน 3 มิติ ด้วย Artcam

โปรแกรม Artcam เป็นโปรแกรมออกแบบ งานนูนสูงต่ำ และ สร้าง Code สำหรับควบคุมการกัดงานของ CNC ผู้เขียนขอเล่าประสพการณ์ การเรียนรู้ เกี่ยวกับการทำงาน 3 มิติ นูนสูงต่ำเพื่อเป็นประโยชน์ต่อ สาธารณะชน และ ประกอบการตัดสินใจการจัดซื้อ จัดหา โปรแกรมดังกล่าวใว้ใช้งาน พอสังเขบดังนี้ 1.คุณสามารถ Download ตัวทดลองใช้งาน ได้ตาม Link นี้ 2.คุณสามารถซื้อหา โปรแกรม Artcam ได้ตาม Link นี้    หรือ ติดต่อซื้อได้ที่  http://www.delcam.com/th/ 3.Artcam manual Link การใช้โปรแกรม Artcam ผู้ใช้จะมีความคาดหวังสูงว่า โปรแกรมนี้จะช่วยทำงานออก แบบ3มิติ สำหรับงาน CNC ให้เป็นเรื่องง่าย โดยผู้ใช้ไม่ต้องทำอะไรมาก นั่นเป็นความเข้าใจที่ยังไม่ถูกต้องทั้งหมด  บทความนี้จะอธิบายหลักการการทำงาน ของโปรแกรม Artcam และ การนำไปใช้งาน รวมถึงการ นำข้อมูลจากโปรแกรมอื่น มาใช้งานใน Artcam ด้วยเช่นกัน เทคนิคเหล่านี้ทำได้หลายวิธี ดังนั้นผู้ใช้จำเป็นต้องมีการฝึกฝน ทักษะเบื้องต้นมาก่อน เทคนิคที่1 การเขียน 3D เบื้องต้น จากเส้น Vector ใน Artcam9 ผู้ใช้ จะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นฐานเบื้องต้น เรื่อง การสร้าง ...